บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก พฤศจิกายน, 2022

โค้งอันตรายในไทยต้องระวัง

รูปภาพ
โค้งอันตรายในไทยต้องระวัง

การตรวจสถาพรถยนต์ เช็คระยะรถยนต์มีความจำเป็นไหม

รูปภาพ
การตรวจสถาพรถยนต์ เช็คระยะรถยนต์มีความจำเป็นไหม

รู้ไหมว่าก่อนขับรถลุยน้ำควรเช็คยางยังไง

รูปภาพ
รู้ไหมว่าก่อนขับรถลุยน้ำควรเช็คยางยังไง แสงทองโบรคเกอร์มีคำตอบที่ #ขับรถ #เช็คยาง #ยาง #ลุยน้ำ #ขับรถลุยน้ำ

เติมน้ำมันผิด ทำยังไงดี

  เติมน้ำมันผิดทำยังไงดี

หินดีดใส่กระจกรถ เคลมประกันได้ไหม

รูปภาพ
  หินดีดใส่กระจกรถ เคลมประกันได้ไหม เป็นประเด็นที่ถกเถียงกันอยู่บ่อยครั้งในสังคมออนไลน์ ถึงปัญหากวนใจที่หลายคนขับรถอยู่ดี ๆ ก็มีหินเจ้ากรรมลอยมาจากไหนไม่รู้ ทำเอากระจกหน้ารถแตกเสียหาย แล้วก็ไม่รู้จะเอาผิดกับใครดี แม้เจรจากับรถคันหน้าได้ แต่ก็ไม่ได้หมายความว่าเราจะได้รับการชดใช้เสมอไป ซึ่งก็เป็นเรื่องน่าเสียดาย สำหรับรถที่ไม่ได้ทำประกันภัยชั้น 1 เอาไว้ เพราะหากเกิดกรณีแบบนี้ขึ้น แล้วผู้เสียหายถามหาการชดใช้จากรถคันหน้า ที่ผ่านมา การกล่าวหาในเหตุการณ์ทำนองนี้มักถูกมองว่าหลักฐานอ่อนเกินไปจนไม่สามารถเรียก ร้องเอาผิดได้แทบทั้งสิ้น เหตุเพราะไม่สามารถยืนยันได้ว่าก้อนหินนั้นมาจากรถคันหน้าจริง ๆ อ่านเพิ่มเติมได้ที่ https://saengthong-broker.com/posts/%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%AA%E0%B9%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%96%20%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%94%E0%B9%89%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1

การประกันภัยรถภาคบังคับหรือพ.ร.บ. คืออะไร

  การประกันภัยภาคบังคับ หรือที่เรียกกันว่า “ประกันภัย พ.ร.บ.” คือ การทำประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ.ศ. 2535 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2536 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ. ศ. 2540 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2550 และแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2551 เริ่มมีผลใช้บังคับครั้งแรกเมื่อวันที่ 5 เมษายน 2536 สาระสำคัญของกฎหมายสรุปได้ ดังนี้ เหตุผลในการประกาศใช้กฎหมาย การที่รัฐออกกฎหมายกำหนดให้รถทุกคันต้องจัดให้มีประกันภัยอย่างน้อยที ่สุด คือ การทำประกันภัยตามพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถ พ. ศ. 2535 โดยมีวัตถุประสงค์ ดังนี้ เพื่อคุ้มครองและให้ความช่วยเหลือแก่ประชาชนที่ได้รับบาดเจ็บหรือเสีย ชีวิต เพราะเหตุ ประสบภัยจากรถ โดยให้ได้รับการรักษาพยาบาลอย่างทันท่วงที กรณีบาดเจ็บ หรือช่วยเป็นค่า ปลงศพ กรณีเสียชีวิต เป็นหลักประกันให้โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลว่าจะได้รับค่ารักษาพยาบาลใ นการรักษาพยาบาลผู้ประสบภัยจากรถ เป็นสวัสดิสงเคราะห์ที่รัฐมอบให้แก่ประชาชนผู้ได้รับความเสียหายเพราะ เหตุประสบภัยจากรถ ส่งเสริมและสนับสนุนให้การประกันภัยเข้ามีส่วนร่วมในการบรรเทาความเดื อ